วรรณคดี เป็นหนังสือแต่งดี
มีคุณค่าด้านเนื้อหาสาระและคุฯค่าทางวรรณศิลป์
การที่จะนิยมหรือยอมรับว่าหนังสือเรื่อใดแต่งดีหรือมีคุณค่า
ผู้อ่านต้องสนใจใคร่รู้และควรอ่านอย่างไตร่ตรองให้ถ่องแท้
เพื่อจะได้เข้าใจในเรื่องราว และได้รับอรรถรสของบทประพันธ์โดยผู้อ่านอาจจะพิจารณาว่าหนังสือเล่มนั้นมีเรื่องราวและเนื้อหาสาระอย่างไร
มีคุณค่าและความงามในด้านใด การอ่านในลักษณะนี้เรียกว่า “การอ่านวิจักษ์”
เป็นพื้นฐานของกานวิเคราะห์
การวิจารณ์ แลการประเมินคุณค่าวรรณคดี อ่านเพิ่มเติม
วันพุธที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558
คำนมัสการคุณานุคุณ
คำนมัสการคุณานุคุณ เป็นผลงานการประพันธ์ของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อยอาจารยางกูร) มีเนื้อหาว่าด้วยการน้อมรำลึกและสำนึกในคุณงามความดีของพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ บิดามารดา และครูอาจารย์ โดยมีความมุ่งหมายให้ผู้อ่าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเยาวชนไทย ยึดมั่นในความกตัญญูต่อผู้มีพระคุณและนำแบบอย่างอันดีงามไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม อ่านเพิ่มเติม
วันพุธที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2558
มหาชาติหรือมหาเวศสันดรชาดก
พุทธศาสนิกชนชาวไทยนับถือกันมาแต่ครั้งโบราณว่า
มหาเวศสันดรเป็นชาดกที่สำคัญกว่าชาดกเรื่องอื่น
เพราะว่าด้วยเรื่องราวที่ปรากฏบารมีของพระโพธิสัตว์อยู่โดยบนิบูรณ์ทั้ง ๑๐ บารมี นอกจากนี้ยังมีผู้นำมหาเวสสันดรชาดกไปแต่งเป็นภาษาไทยอีกหลายสำนวน
และใช้คำประพันธ์หลายชนิด เช่น กลอน ฉันท์ กาพย์ ลิลิต และร้อยแก้ว
รวมทั้งยังมีมหาเวสสั อ่านเพิ่มเติม
มงคลสูตรคำฉันท์
เมื่อ พ.ศ.
2466 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ในรัชกาลที่6
ทรงนำมงคลสูตรมาทรงพระราชนิพนธ์เป็นบทร้อยกรองประเกทคำฉันท์ โดยใช้คำประพันธ์ 2
ชนิด คือกาพย์ฉบัง 16 และอินทรวิเชียรฉันท์ 11 ทรงนำคาถาภาษาบาลีจากพระไตรปิฏกตั้งแล้วแปลถอดความเป็นร้อยกรองภาษาไทย ได้ถูกต้องตรงตามบังคับในฉันทลักษณ์
โดยไม่เสียเนื้อความจากพระคาถาบาลี การจัดวางลำดับขอ อ่านเพิ่มเติม
ทุกข์ของชาวนาในบทกวี
ทุกข์ของชาวนาในบทกวี
เป็นบทความแสดงความคิดเห็น
ซึ่งเป็นบทความที่มีจุดมุ่งหมายที่จะแสดงความคิดเห็นในประเด็นใดประเด็นหนึ่ง ความคิดเห็นที่มานำเสนอได้มาจากการวิเคราะห์
การใช้วิจารณญาณไตร่ตรองของผู้เขียน โดยผ่านการ สำรวจปัญหา ที่มาของเรื่อง
และข้อมูลต่างๆ
อย่างละเอียดความคิดเห็นที่นำเสนออาจจะเป็นวิธีการแก้ไขปัญหาตามทัศนะของผู้เขียนหรือการโต้แย้งควา
อ่านเพิ่มเติม
หัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่ม
เป็นบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยทรงใช้พระนามแฝงว่า “รามจิตติ” เพื่อพระราชทานลงพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ “ ดุสิตสมิต”เมื่อ พ.ศ.๒๔๖๔
ลักษณะการพระราชนิพนธ์เป็นรูปแบบของจดหมาย มีจำนวน ๑๘ ฉบับ
รวมระยะเวลาที่ปรากฏตามจดหมา อ่านเพิ่มเติม
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงเริ่มเรื่องด้วยร่ายสุภาพยอพระเกียรติพระมหากษัตริย์
แล้วกล่าวถึงความเจริญของบ้านเมือง
จากนั้นจึงรำพันถึงการจากนางอันเป็นที่รักและพรรณนาสถานที่ที่ผ่านไป
โดยนายนรินทรธิเบศร์ (อิน) ได้ออกเดินทางเริ่มต้นจากคลองขุดผ่านวัดแจ้ง คลองบางกอก
(ใหญ่) วัดหงส์ วัดสังข์กระจาย บางยี่เรือ
(คลอง) ด่านนางนอง บางขุนเทียน บางบอน บางหัวกระบือ โคกขาม คลองโคกเต่า มหาชัย
ท่าจีน บ้านบ่อ นาขวาง คลองสามสิบสองค อ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)